วันเสาร์ที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2553
วันศุกร์ที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2553
การใช้ตัวอักษร (Typography)
Typography : การใช้อักษรหรือการจัดวางตัวอักษร
Font ( Typefaces ) : ชุดรูปแบบของตัวอักษร
Font Families : ตระกลูของชุดแบบอักษร เช่น ตัวธรรมดา ตัวหนา ตัวเอียง
ส่วนประกอบ
1. แบบมีเชิง ( Serlf )
2. แบบไม่มีเชิง ( Sans Serif )
3. แบบแฟชั่น ( Novelty )
4. แบบลายมือ ( Script )
5. แบบตัว ๆ ( Monospace )
6. แบบสัญลักษณ์ ( Dingbat , Ornament )
ขนาดตัวอักษร
มีหน่วยเป็น Points แบบอักษรที่มีความแตกต่างกันที่ขนาด Points ที่ไม่เท่ากัน ไม่จำเป็นต้องมีความสูงเท่ากันก็ได้ เช่น 72 Points เท่ากับ 1 นิ้ว
การจัดตำแหน่ง
1. แบบชิดขวา
2. แบบชิดซ้าย
3. แบบกระจายทั่ว
4. แบบตรงกลาง
การผสมตัวอักษร
- ตัวอักษรไม่มีขา ตัวหนา และตัวอักษรที่มีขา ตัวบาง ตัวอักษรทั้ง 2 แบบ มีความแตกต่างกัน ตรงที่ด้วนน้ำหนักและขนาดทำให้เกิดความโดดเด่นได้ง่าย
- ตัวอักษรมีขา ตัวหนา และตัวอักษรไม่มีขา ตัวบาง การผสมอักษรแบบนี้ทำให้เกิดจุดเด่นของสัญลักษณ์อักษรได้ง่าย
- คำเตือน
- ตัวอักษรไม่มีขา ผสมกับตัวอักษรมีขา การผสมแบบนี้จะทำให้ไม่มีจุดเด่น เนื่องจากตัวอักษรทั้ง 2 แบบไม่มีความแตกต่างกันด้วยน้ำหนัก
- ความแตกต่างอย่างชัดเจนของตัวอักษรแบบนี้ เหมาะสำหรับงานที่มีการพัฒนาแนวความคิด
- การผสมอักษรสามารถสร้างความแตกต่างได้อย่างหลากหลาย
Font ( Typefaces ) : ชุดรูปแบบของตัวอักษร
Font Families : ตระกลูของชุดแบบอักษร เช่น ตัวธรรมดา ตัวหนา ตัวเอียง
ส่วนประกอบ
1. แบบมีเชิง ( Serlf )
2. แบบไม่มีเชิง ( Sans Serif )
3. แบบแฟชั่น ( Novelty )
4. แบบลายมือ ( Script )
5. แบบตัว ๆ ( Monospace )
6. แบบสัญลักษณ์ ( Dingbat , Ornament )
ขนาดตัวอักษร
มีหน่วยเป็น Points แบบอักษรที่มีความแตกต่างกันที่ขนาด Points ที่ไม่เท่ากัน ไม่จำเป็นต้องมีความสูงเท่ากันก็ได้ เช่น 72 Points เท่ากับ 1 นิ้ว
การจัดตำแหน่ง
1. แบบชิดขวา
2. แบบชิดซ้าย
3. แบบกระจายทั่ว
4. แบบตรงกลาง
การผสมตัวอักษร
- ตัวอักษรไม่มีขา ตัวหนา และตัวอักษรที่มีขา ตัวบาง ตัวอักษรทั้ง 2 แบบ มีความแตกต่างกัน ตรงที่ด้วนน้ำหนักและขนาดทำให้เกิดความโดดเด่นได้ง่าย
- ตัวอักษรมีขา ตัวหนา และตัวอักษรไม่มีขา ตัวบาง การผสมอักษรแบบนี้ทำให้เกิดจุดเด่นของสัญลักษณ์อักษรได้ง่าย
- คำเตือน
- ตัวอักษรไม่มีขา ผสมกับตัวอักษรมีขา การผสมแบบนี้จะทำให้ไม่มีจุดเด่น เนื่องจากตัวอักษรทั้ง 2 แบบไม่มีความแตกต่างกันด้วยน้ำหนัก
- ความแตกต่างอย่างชัดเจนของตัวอักษรแบบนี้ เหมาะสำหรับงานที่มีการพัฒนาแนวความคิด
- การผสมอักษรสามารถสร้างความแตกต่างได้อย่างหลากหลาย
สี
สี คือ คลื่นแสงในระดับความถี่ต่างๆ ที่กระทบวัตถุแล้วสะท้อนเข้าตาเรา ในทางศิลปะ สี หมายถึงเนื้อของวัตถุธาตุอย่างใดอย่างหนึ่งที่สามารถทา ย้อม เปลี่ยนสีของวัตถุให้เป็นสีใหม่ได้ โดยอาจได้มาจากดิน หิน พืช ผลไม้ หรือเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นจากสารต่างๆ
มนุษย์ค้นพบและรู้จักนำมาใช้ในการบันทึกเรื่องราว และเป็นสิ่งที่พบเห็นในชีวิตประจำวันตั้งแต่ยุคหิน ภาพเขียนสีในผนังถ้ำอัลตามิราในประเทศสเปน และถ้ำลาสโคในประเทศฝรั่งเศส ยืนยันให้เห็นว่ามนุษย์รู้จักใช้สีในการวาดภาพแล้ว สีเหล่านั้นได้มาจากดิน พืช และเลือดของสัตว์
สีวัตถุธาตุ
สีวัตถุธาตุ หมายถึง สิ่งที่มีความเป็นสีในตัวเอง โดยไม่ต้องมีสีใดๆมาผสม จัดเป็นสีขั้นต้นหรือสีปฐมภูมิ ซึ่งทั่วไปเรียกว่าแม่สี มีทั้งสีที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และสีที่มนุษย์ผลิตขึ้น สีวัตถุธาตุที่รู้จักกันโดยทั่วไปมีอยู่ 3 สี สีแดง สีเหลือง สีน้ำเงิน
แม่สีวัตถุธาตุทั้ง 3 สีนี้ บางทีก็เรียกกันว่าสีขั้นที่ 1 ซึ่งสามารถทำให้เกิดสีขั้นที่ 2และที่ 3 ต่อไปได้อีก ด้วยวิทีการนำเอาเนื้อสีมาผสมกันในอัตราส่วนที่เท่ากัน
สีที่ได้จากการผสมกันของแม่สีเป็นคู่ๆในอัตราส่วนเท่ากัน ดังนี้
แดง ผสมกับ เหลือง เป็น ส้ม
แดง ผสมกับ น้ำเงิน เป็น ม่วง
เหลือง ผสมกับ น้ำเงิน เป็น เขียว
สีที่ได้จากการผสมกันของแม่สีคือ ส้ม ม่วง เขียว เรียกว่าสีขั้นที่ 2 ถ้านำสีทั้ง 6 สีมา คือแม่สีและสีขั้นที่ 2 มาผสมกันเป็นคู่ๆ ในอัตราส่วนเท่ากันจะได้อีก 6 สี
สิ่งที่ได้จากการผสมกันของแม่สีกับสีขั้นที่ 2 คือ
แดง ผสมกับ ส้ม เป็น ส้มแดง
เหลือง ผสมกับ ส้ม เป็น ส้มเหลือง
แดง ผสมกับ ม่วง เป็น ม่วงแดง
น้ำเงิน ผสมกับ ม่วง เป็น ม่วงน้ำเงิน
เหลือง ผสมกับ เขียว เป็น เขียวเหลือง
น้ำเงิน ผสมกับ เขียว เป็น เขียวน้ำเงิน
สีที่ได้จากการผสมกันของแม่สีกับสีขั้นที่ 2 คือ ส้มแดง ส้มเหลือง ม่วงแดง
ม่วงน้ำเงิน เขียวเหลือง เขียวน้ำเงิน เรียกว่าสีขั้นที่ 3
ถ้านำแม่สีทั้ง 3 สีมาผสมกัน ในอัตราส่วนเท่ากันจะเกิดสีกลาง ซึ่งมีลักษณะคล้ายสีเทา
การผสมกันของแม่สีกับสีขั้นที่ 1 และสีขั้นที่ 2 ทำให้เกิดสีขึ้นมาทั้งหมด 12 สีสีทั้งหมดนี้เมื่อนำมาเรียงกันเป็นวงกลมตามคู่ของการ
ผสมจะทำให้เกิดเป็นวงธรรมชาติ
วันพุธที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2553
เว็ปแนวตั้ง - แนวนอน
เว็ปแนวตั้ง
ขนาดของหน้าเว็ป : 800*600 px
การจัดวางตำแหน่งของ LOGO เนื้อหา ภาพประกอบ
ส่วนหัว : Logo web Home Topic ChatRoom Forums Feedback
ส่วนกลาง : สไลด์ภาพอัพเดทข่าวสาร ,ภาพเคลื่อนไหว ,โฆษณา ,หัวข้อกระดานสนทนาหลัก
การจัดวางตำแหน่งของ LOGO เนื้อหา ภาพประกอบ
ส่วนหัว : Logo web Home Topic ChatRoom Forums Feedback
ส่วนกลาง : สไลด์ภาพอัพเดทข่าวสาร ,ภาพเคลื่อนไหว ,โฆษณา ,หัวข้อกระดานสนทนาหลัก
ส่วนท้าย : ลิขสิทธิ์ , ชื่อที่อยู่เบอร์โทรสำหรับติดต่อทางเว็ป
ตำแหน่งของเมนู : อยู่ทางด้านบนของเว็ป
ลักษณะของเมนู : เป็นรูปแบบตัวอักษร
ตำแหน่งของเมนู : อยู่ทางด้านบนของเว็ป
ลักษณะของเมนู : เป็นรูปแบบตัวอักษร
เว็ปแนวนอน
ขนาดของหน้าเว็ป :1600 *800 px
การจัดวางตำแหน่งของ LOGO เนื้อหา ภาพประกอบ
ส่วนหัว : Zupadupa
การจัดวางตำแหน่งของ LOGO เนื้อหา ภาพประกอบ
ส่วนหัว : Zupadupa
ส่วนกลาง : เมนูทางด้านซ้ายสุด ,ข้อความ ,รูปภาพกราฟฟิก
ตำแหน่งของเมนู : อยู่ทางด้านขวาบนของเว็ป
ลักษณะของเมนู : เป็นรูปแบบตัวอักษร กราฟฟิก
ลักษณะของเมนู : เป็นรูปแบบตัวอักษร กราฟฟิก
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)